วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

แนวข้อสอบ

1)
สัญลักษณ์ของธาตุ Calcium
ก.
C
ข.
N
ค.
B
ง.
Ca


2)  ข้อใดแทนสัญลักษณ์ของโลหะแมกนีเซียม
ก.
Mn
ข.
Mo
ค.
Mg
ง.
Ma
3)
เลขมวล คือ
ก.
ตัวเลขที่แสดงจำนวนอิเล็กตรอน
ข.
ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอน
ค.
ตัวเลขที่แสดงผลรวมจำนวนโปรตอนและนิวตรอน
ง.
ตัวเลขที่แสดงจำนวนนิวตรอน
4)
ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก.
เลขอะตอมใช้สัญลักษณ์ คือ A
ข.
เลขอะตอมแทนจำนวนโปรตอนในอะตอม
ค.
เลขอะตอมใช้บอกว่าธาตุนั้นอยู่หมู่ใด
ง.
เลขอะตอมใช้บอกว่าธาตุนั้นอยู่คาบใด
5)
ข้อใดเป็นโครงสร้างอะตอมของธาตุฮีเลียม (He)
ก.
p, e, n
ข.
2p, e, 2n
ค.
p, 2e, n
ง.
2p, 2e, 2n
6)
คาร์บอนเป็นธาตุที่เป็นส่วนสำคัญของสิ่งมีชีวิต สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 126C แสดงว่านิวเคลียสของคาร์บอนนี้มีอนุภาคตามข้อใด (มาจากข้อสอบ O-NET ปี50)
ก.
โปรตอน 12 ตัว นิวตรอน 6 ตัว
ข.
โปรตอน 6 ตัว นิวตรอน 6 ตัว
ค.
โปรตอน 6 ตัว อิเล็กตรอน 6 ตัว
ง.
ถูกทั้งข้อ 2. และ 3.
7)
จำนวนอิเล็กตรอนของธาตุที่มีเลขอะตอมเป็น 17 คือ
ก.
7
ข.
17
ค.
8
ง.
18
8)
ข้อใดต่อไปนี้เป็นการกำจัดกากกัมมันตรังสีที่ดีที่สุด (มาจากข้อสอบ O-NET ปี50)
ก.
เร่งให้เกิดการสลายตัวเร็วขึ้นโดยใช้ความดันสูงมากๆ
ข.
เผาให้สลายตัวที่อุณหภูมิสูง
ค.
ใช้ปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนให้เป็นสารประกอบอื่น
ง.
ใช้คอนกรีตตรึงให้แน่นแล้วฝังกลบใต้ภูเขา
9)
ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับไอโซโทปของธาตุหนึ่งๆ
ก.
มีเลขมวลเท่ากัน แต่เลขอะตอมต่างกัน
ข.
มีจำนวนโปรตอนเท่ากัน แต่จำนวนนิวตรอนต่างกัน
ค.
มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน แต่จำนวนโปรตอนต่างกัน
ง.
มีผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนเท่ากัน
10)
นักโบราณคดีตรวจพบเรือโบราณลำหนึ่งมีอัตราส่วนของปริมาณ C-14 ต่อ C-12 เป็น 25% ของอัตราส่วนของสิ่งที่มีชีวิต สันนิษฐานได้ว่าซากเรือนี้มีอายุประมาณกี่ปี
กำหนดให้ ครึ่งชีวิตของ C-14 เป็น 5,730 ปี (มาจากข้อสอบ O-NET ปี 50)
ก.
2,865 ปี
ข.
5,730 ปี
ค.
11,460 ปี
ง.
22,920 ปี
11)
รังสีในข้อใดมีอำนาจในการทะลุทะลวงผ่านเนื้อสารได้น้อยที่สุด (มาจากข้อสอบ O-NET ปี 50)
ก.
รังสีแอลฟา
ข.
รังสีบีตา
ค.
รังสีแกมมา
ง.
รังสีเอกซ์
12)
ธาตุที่มีเลขอะตอมต่อไปนี้ มีสิ่งใดเหมือนกัน (มาจากข้อสอบ O-NET ปี 50)
1   3   11   19   37
ก.
เป็นอโลหะเหมือนกัน
ข.
มีจำนวนอนุภาคมูลฐานเท่ากัน
ค.
อยู่ในระดับพลังงานเดียวกัน
ง.
มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน
13)
ใช้ตารางตอบคำถามข้อ 13 - 17
ตาราง การจัดตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุบางชนิด
ชื่อธาตุสัญลักษณ์ธาตุเลขอะตอมการจัดอิเล็กตรอนในอะตอมตามระดับพลังงานวาเลนซ์อิเล็กตรอน
แมกนีเซียมMg12ข้อ 13ข้อ 14
ลิเทียมข้อ 1532, 11
คลอรีนCl17ข้อ 167
อาร์เซนิกAsข้อ 172, 8, 18, 55
การจัดอิเล็กตรอนในอะตอมตามระดับพลังงานของธาตุแมกนีเซียม
ก.
2, 7, 3
ข.
2, 8, 2
ค.
2, 5, 4, 1
ง.
2, 8, 8
14)
วาเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุแมกนีเซียม
ก.
3
ข.
1
ค.
8
ง.
2
15)
สัญลักษณ์ของธาตุลิเทียม
ก.
B
ข.
Cl
ค.
Li
ง.
C
16)
การจัดอิเล็กตรอนในอะตอมตามระดับพลังงานของธาตุ Cl
ก.
2, 8, 18
ข.
2, 8, 7
ค.
2, 8, 8
ง.
2, 8, 6, 1
17)
เลขอะตอมของอาร์เซนิก คือ
ก.
35
ข.
34
ค.
33
ง.
32

พันธะโลหะ

พันธะโลหะ (อังกฤษMetallic bonding) เป็นพันธะภายในโลหะซึ่งเกี่ยวข้องกับ การเคลื่อนย้าย อิเล็กตรอน อิสระระหว่างแลตทิซของอะตอมโลหะ ดังนั้นพันธะโลหะจึงอาจเปรียบได้กับเกลือที่หลอมเหลว อะตอมของโลหะมีอิเล็กตรอนพิเศษเฉพาะในวงโคจรชั้นนอกของมันเทียบกับคาบ (period) หรือระดับพลังงานของพวกมัน อิเล็กตรอนที่เคลื่อนย้ายเหล่านี้เปรียบได้กับทะเลอิเล็กตรอน(Sea of Electrons) ล้อมรอบแลตทิชขนาดใหญ่ของไออ อ่านเพิ่มเติม

พันธะไอออนิก

พันธะไอออนิก (อังกฤษIonic bonding) เป็นพันธะเคมีชนิดหนึ่ง เกิดจากที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมสร้างพันธะกันโดยที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมให้อิเล็กตรอนกับอะตอมหรือกลุ่มของอะตอม ทำให้กลายเป็นประจุบวก ในขณะที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนนั้นกลายเป็นประจุลบ เนื่องจากทั้งสองกลุ่มมีประจุตรงกันข้ามกันจะดึงดูดกัน ทำให้เ อ่านเพิ่มเติม

พันธะโคเวเลนซ์

 พันธะโคเวเลนต์  คือ  พันธะเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมของธาตุอโลหะกับธาตุโลหะที่เข้ามาสร้างแรงยึดเหนี่ยวต่อกัน  เนื่องจากธาตุอโลหะจะมีสมบัติเป็นตัวรับอิเล็กตรอนที่ดีและยากต่อการสูญเสียอิเล็กตรอน  ดังนั้นอิเล็กตรอนของธาตุทั้งสองจึงต่างส่งแรงดึงดูดเพื่อที่จะดึงดูดอิเล็กตรอนของอีกฝ่ายให้เข้าหาตนเอง  ทำให้แรงดึงดูดจากนิวเคลียสของอ อ่านเพิ่มเติม

สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ

สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ

   สมบัติทางเคมีและทางกายภาพหลายประการของธาตุทั้งหลายในตารางธาตุซึ่งแปรเปลี่ยนไปตามเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้นนั้นมีความสัมพันธ์กับการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุต่าง ๆ  นักเรียนคิดว่าธาตุในหมู่หรือคาบเดียวกันจะมีขนาดอะตอม   จุดหลอมเหลวและจุดเดือด พ อ่านเพิ่มเติม

ตารางธาตุ

ตารางธาตุ (อังกฤษPeriodic table) คือ ตารางที่ใช้แสดงรายชื่อธาตุเคมี ซึ่งจัดเรียงบนพื้นฐานของเลขอะตอม (จำนวนโปรตอนในนิวเคลียส) การจัดเรียงอิเล็กตรอน และสมบัติทางเคมี โดยจะเรียงตามเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะระบุไว้ในร่วมกับสัญลักษณ์ธาตุเคมี ในกล่องของธาตุนั้น ตารางธาตุมาตรฐานจะมี 18 หมู่และ 7 คาบ และมีคาบพิเศษเพิ่มเติมมาอยู่ด้านล่างของตารางธาตุ ตารางยังสามารถเปลี่ยนเป็นการจัดเรียงตามบล็อก โดย บล็อก-s จะอยู่ซ้ายมือ บล็อก-p จะอยู่ขวามือ บล็อก-d จะอยู่ตรงกลางและ อ่านเพิ่มเติม